บทความ

เทคนิคการใช้ ปุ๋ยเร่งดอก กับมะนาว เพื่อให้ได้ผลผลิตนอกฤดูกาล

รูปภาพ
  เทคนิคการใช้ ปุ๋ยเร่งดอก กับมะนาว เพื่อให้ได้ผลผลิตนอกฤดูกาล เทคนิคการใช้ ปุ๋ยเร่งดอก กับมะนาว เพื่อให้ได้ผลผลิตนอกฤดูกาล เพราะว่ามะนาวจะมีราคาแพงในช่วงนอกฤดู จึงทำให้ชาวเกษตรค้นหาวิธีจนสามารถทำให้ได้ผลผลิตนอกฤดูกาล อย่างเช่น ปุ๋ยเร่งดอก มาดูวิธีการใช้ปุ๋ยเร่งดอกกับมะนาวกัน ขอบคุณรูปภาพจาก คาสิโนออนไลน์ บาคาร่า มะนาวเมื่อถึงเวลาที่จะให้ผลผลิตได้แล้วนั้น จึงจำเป็นต้องมีการเสริมด้วย ปุ๋ยเร่งดอก เพราะการออกดอกประมาณ 1-2 เดือน ในส่วนของสูตรปุ๋ยเร่งดอกมะนาวนั้น ที่ชาวสวนนิยมใช้นั้นคือ ปุ๋ยเร่งดอก 8-24-24 เพราะการใช้ปุ๋ยเร่งดอกอย่างต่อเนื่องนั้นอาจจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของมะนาวได้ เพราะปุ๋ยเร่งดอกเป็นปุ๋ยที่มีธาตุฟอสเฟตมากดังนั้นควรใช้ปุ๋ยที่เร่งดอก 8-24-24 สลับกับการใช้ปุ๋ยเร่งดอกสูตร 15-15-20 หรือ 14-9-20 ก็ได้ เทคนิคการใช้ปุ๋ยเร่งดอกมะนาว อย่างไรให้ปลอดภัยต่อต้นมะนาวในระยาว ผลจากการที่สำรวจธาตุอาหารในดินของนักวิชาการเกษตรพบธาตุฟอสเฟตในปริมาณสูงโดยเฉพาะในพื้นที่เพราะปลูกไม้ ทำให้มีผลถึงสวนมะนาวด้วยเช่นกันทำให้เห็นว่าในพื้นที่เพราะปลูกมะนาวหรือผลไม้อื่นๆ มีการใช้ปุ๋ยเร่งดอกหร

หลักพื้นฐานของการทำ เกษตรอินทรีย์ ให้ยั่งยืน

รูปภาพ
  หลักพื้นฐานของการทำ เกษตรอินทรีย์ ให้ยั่งยืน หลักพื้นฐานของการทำ   เกษตรอินทรีย์ ยั่งยืน เป็นการทำเกษตรที่ปลอดสารพิษเน้นในการบำรุงพืชด้วยวิธีธรรมชาติ จึงทำให้ได้ผลผลิตที่ปลอดภัย แต่ผลที่ได้จะไม่ดีเท่าการใช้สารเคมี และชาวเกษตรกรส่วนใหญ่ ไม่นิยมทำเพราะต้องการผลิตลิตรที่มากขึ้น วันนี้จะมาแนะนำหลักการพื้นฐานของการทำ เกษตรอินทรีย์ ให้ยั่งยืน ว่าเป็นยังไงกันบ้างครับ การทำทำ เกษตรอินทรีย์ต้องห้ามใช้สารเคมีสังเคราะห์ทางเกษตรทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี หรือ ยาฆ่าหญ้า ยาป้องกันกำจัดศัตรูพืช และฮอร์โมนต่าง เพราะป้องกันไม่ให้พืชของเรามาสารพิษตกค้างอาจจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค   ในการทำทำ เกษตรอินทรีย์ เราจะเน้นการบำรุงดินของเราด้วยอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และการปลุกพืชหมุนเวียนเพื่อให้พืชของเราแข็งแรงและมีความต้านทานต่อโรคแมลง และการรักษาความสมดุลของธาตุอาหารภายในฟาร์ม โดยการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นมาหมุนเวียนทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด จะทำการป้องกันไม่ให้การปนเปื้อนของสารเคมีจากภายนอกฟาร์ม ทั้งจากดิน น้ำ และอากาศ ทำให้จัดสร้างแนวกันชน ด้วยการขุดคู หรือปลูกพืชยืนต้น และพืชล้มล

ข้อดีและข้อเสีย ของการทำ เกษตร แบบผสมผสาน

รูปภาพ
  ข้อดีและข้อเสีย ของการทำ เกษตร แบบผสมผสาน การทำเกษตรทุกรูปแบบมีทั้ง ข้อดีและข้อเสีย วันนี้จะมาบอกถึงการทำ เกษตร แบบผสมผสาน ว่ามี ข้อดีและข้อเสียมากน้อยแค่ไหนหากเราต้องการลงมือทำ เกษตร แบบผสมผสาน มาดูกันเลยครับ ข้อดีของการทำเกษตรแบบผสมผสาน 1. จะเป็นการวัดว่าการเกษตรที่ทุกคนทำนั้นมีสัดส่วนเพียงพอต่อการบริโภคหรือไม่ มีงานทำหรือป่าว และอีกอย่างหนึ่งที่สำคัญคือ มีรายได้ต่อเนื่องหรือไม่ 2. การที่เราทำเกษตรผสมผสานนั้นจะเป็นการจัดระบบของกิจกรรมของการผลิต เช่น ไรนา พืชสัตว์ ประมง ต่าง ๆ ให้มีการผสมผสานอย่างต่อเนื่องและเกื้อกูลกัน 3. ทำให้ผู้บริโภครู้สึกสบายใจเมื่อได้ทานผลผลิตของเรา เพราะการทำให้ระบบเกษตรผสมผสานได้ดีจะทำให้ผลผลิตที่เข้าสู่ร่างการดีตามไปด้วย 4. จะทำให้คุณภาพชีวิตของชาวเกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สิ่งสำคัญจะทำให้เกิดทุนหมุนเวียนภายในไร่ของเราได้เป็นอย่างดี 5. จะทำให้เราฟื้นฟูธรรมชาติความสมดุลให้กลับมาดีขึ้นเพราะการทำเกษตรแบบผสมผสานจะทำให้ดินมีความอุดมสมบรูณ์มากขึ้น น้ำก็จะสะอาด การดูดซึมน้ำใต้ดินได้ดีขึ้นทำให้พืชสามารถดูดซึมน้ำได้ดีในหน้าแล้ง 6. ทำชาวเกษตรมี

3 วิธีการดูแลรักษาพืช

รูปภาพ
  3 วิธีการดูแลรักษาพืช วิธีการดูแลรักษาพืชหรือการปฏิบัติ ทำให้พืชเจริญเติบโตอย่างดีและปราศจากศัตรูพืช ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงการเก็บผลผลิต วันนี้จะมาแนะนำ เพียง 4 วิธีง่าย ๆ ในการการปฏิบัติกัน 1. การให้น้ำกับพืช เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับพืชโดยเฉพาะพืชในฤดูฝน เพราะภายในพืชจะมีองค์ประกอบคือ น้ำ ถึง 80 % ดังนั้นหากมีการเริ่มปลูกพืชใหม่จึงต้องจำเป็นที่จะให้น้ำ ในระยะที่พืชกำลังผลิตดอก หรือผล หลักการง่ายๆในการให้น้ำกับพืช ชื้นได้แต่อย่าแฉะ 2. การพรวนดินและการกำจัดวัชพืช   เป็นการช่วยทำให้รากของพืชกระจายออกได้ดีและกว้าง เพราะการพรวนดินทำให้รากสามารถเติบโตได้ง่ายดินไม่แน่น และจะทำให้รากของพืชเกิดใหม่ได้ดี การพรวนควรพรวนประมาณ   2 ครั้ง หลักจากปลูก 3. การใส่ปุ๋ย จะเป็นการให้สารอาหารพืช เพิ่มแร่ธาตุสำหรับพืชที่มีการปลูกเรียบร้อยแล้ว การให้ปุ๋ยต้องมีการศึกษาแร่ธาตุว่าปุ๋ยแต่ละสูตรเหมาะกับพืชไหน เพื่อไม่ให้พืชได้รับสารอาหารผิดและอาจทำให้พืชตายได้ วิธีการดูแลรักษาพืช นี้เป็นเทคนิคเบื้องต้นเท่านั้น เพื่อใช้ในการสังเกตพืชและชาวยให้พืชของเราเจริญเติบโตได้ดีและได้ผลผลิตที่สวยงาม บทความเกี่ยวกับ

โรคใบจุดสาหร่าย

รูปภาพ
  โรคใบจุดสาหร่าย   โรคใบจุดสาหร่าย มักเกิดในใบพืชสีเขียว เกิดจากเชื้อสาหร่ายเขียว Cephaleuros virescens เป็นปัญหาหลักๆของชาวเกษตรกรวันนี้จะมาแนะนำลักษณะอาการและวิธีการป้องกันกำจัดกันครับ ลักษณะอาการของโรค ใบจุดสาหร่าย อาการที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นที่ใบ มีจุดกลมๆเป็นขุยๆสีเขียวหลังจากนั้นหากมีอาการหนักขึ้นจะกลายเป็นจุดสีแดง สีสนิมเหล็กเป็นขุยกำมะหยี่ หากเป็นที่ใบจะไม่รุนแรงมากนัก แต่ถ้าหากเกินที่กิ่งจะรุนแรงมากอาจทำให้ต้นตายได้   โรคใบจุดสาหร่าย จะทำลายพืชได้หลายชนิด เช่น เงาะ ลำไย ทุเรียน เป็นต้น ส่วนมากจะระบาดในที่ ๆ มีความชื่นสูงในฤดูฝน แพร่โดยการปลิวไปตามลม หรือไปกับน้ำที่รดพืชก็ได้ การป้องกันกำจัด จะเป็นการตัดกิ่งให้แสงเข้าถึงจะสามารถลดการเกิดโรคได้ และตัดกิ่งที่เป็นโรคน้ำไปเผ่าและทำลาย     อย่างไรก็ตามหากพืชของเรามีภูมิคุ้มกัน ก็จะทำให้ป้องกันโรคต่างๆได้ดีเช่นกัน ซึ่งปัจจุบันสามารถมีวิธีต่าง ๆ ที่สามารถเพิ่มภูมิคุ้มกันและและกำจัดได้โดยใช้ น้ำส้มควันไม้ เป็นต้น     ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคต่างได้ที่นี่ <<< คลิ๊ก อ่าน การเลี้ยงจิ้ง

โรคที่มักเกิดในหน้าฝนของพืช โรคเน่าคอดิน

รูปภาพ
  โรคที่มักเกิดในหน้าฝนของพืช โรคเน่าคอดิน   โรคที่มักเกิดขึ้นในหน้าฝนของพืชมีหลากหลายโรคมากครับ วันนี้จะมาขอแนะนำโรคที่เกิดและมีผลต่อพืชของเราเป็นอย่างมาก เช่น โรคเน่าคอดิน เกิดขึ้นจากเชื้อที่ทำให้เกิดโรคเน่าคือ เชื้อรา Pythium มาดูลักษณะอาการ เชื้อสามารถแพร่ระบาดและการป้องกันอย่างไร   ลักษณะอาการ เป็นโรคที่มักเกิดในแปลงต้นกล้าเพราะการที่เราหว่านกล้ามากหรือแน่นทึบเกินไป ไม่มีลม ต้นกล้าเบียดกันเกินไป เนื้อตรงโคนต้นจะเป็นแผลเน่าและแห้งอย่างรวดเร็ว ถ้าถูกแสงแดดทำให้ต้นหักพับก็จะเหี่ยวตายอย่างรวดเร็วสาเหตุที่เชื้อแพร่ระบาดเชื้อส่วนมากจะติดมากับเมล็ด ดิน น้ำ ฝน ส่วนมากจะพบโรคเน่าคอดินในฤดูฝนและปลายฤดูฝนการป้องกันและการกำจัดไม่ให้เกิดโรคเน่าคอดิน ตอนเตรียมแปลงนั้นให้เตรียมให้ดีอย่าให้มีน้ำขังในแปลงและเมล็ดพันธุ์ที่ดี มีโอกาสที่งอกสูงไม่หว่านเมล็ดพันธุ์ลงแปลงแน่นจนเกินไป ก่อนนำเมล็ดมาปลุกควรมีการคลุกเมล็ดพันธุ์กับ สารชีวภัณฑ์ ก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้มีเชื้อรา ต้องมีการตรวจแปลงที่ลงเมล็ดพันธุ์อยู่สม่ำเสมอหากพบว่ามีต้นกล้าติดเชื้อราให้ขุดต้นกล้าและดินบริเวณนั้นนำไปฝั่งนอกแปลงทันทีเพื่อป้อ

วิธีใช้ น้ำส้มควันไม้ กำจัดหนอน

รูปภาพ
  วิธีใช้ น้ำส้มควันไม้ กำจัดหนอน     น้ำส้มควันไม้ ได้มาจากการเผ่าถ่านที่ใช้ในครัวเรือนจะมีลักษณะเป็นของเหลวสีน้ำตาล เกินจากการควบแน่นของควันที่เผ่าถ่านในช่วงอุณหภูมิ 300-400 องศาเซลเซียส ทำให้มีสารต่างๆออกมากจากการเผ่าไหม้ วันนี้จะมาแนะนำการใช้น้ำส้มควันไม้กำจัดหนอนที่กินใบพืชของเราสามารถใช้ได้กับหนอนทุกชนิดครับ ใช้น้ำส้มควันไม้ประมาณ 1 ฝา ผสมกับน้ำประมาณ 500 มิลลิลิตร สำหรับแปลงพืชผักที่มีขนาดไม่ใหญ่มากครับ เมื่อผลสมนำส้มควันไม้กับน้ำแล้วก็นำไปฉีดบริเวณที่มีหนอนได้เลย เพราะน้ำส้มควันไม้มีฤทธิ์เป็นกรดมากจึงทำให้สามารถกำจัดหนอนได้แต่ต้องฉีดให้โดนตัวหนอนด้วย ถ้าเป็นหนอนตัวใหญ่ฉีดทิ้งไว้สักพักแล้วค่อยกลับมาฉีดใหม่อีกสักประมาณ 2-3 ครั้ง แต่ถ้าเป็นหนอนตัวเล็กฉีดทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที ก็ตายแล้วครับ ใช้น้ำส้มควันไม้ประมาณ 1 ฝา ผสมกับน้ำประมาณ 500 มิลลิลิตร สำหรับแปลงพืชผักที่มีขนาดไม่ใหญ่มากครับ        หลายคนก็อาจไม่ค่อยรู้ว่าน้ำส้มควันไม้สามารถใช้ได้หลากหลาย นอกจากจะไม่ต้องพึ่งสารเคมีการกำจัดหนอนในใบพืชก็เป็นอีกอย่างหนึ่ง ที่น้ำส้มควันไม้สามารถทำได้และยังได้ผลดีอีกด้วย อ่านเพิ่มเติมปร